หมวดหมู่ของบทความนี้จะพูดถึงอนันตา แปลว่า หากคุณกำลังเรียนรู้เกี่ยวกับอนันตา แปลว่ามาวิเคราะห์กับbirthyouinlove.comในหัวข้ออนันตา แปลว่าในโพสต์อัตตา อนัตตา เรื่องที่ควรทำความเข้าใจให้ถูกต้องนี้.

ภาพรวมของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องอนันตา แปลว่าที่สมบูรณ์ที่สุดในอัตตา อนัตตา เรื่องที่ควรทำความเข้าใจให้ถูกต้อง

ดูตอนนี้วิดีโอด้านล่าง

ที่เว็บไซต์Birth You In Loveคุณสามารถเพิ่มข้อมูลอื่นนอกเหนือจากอนันตา แปลว่าสำหรับข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมสำหรับคุณ ที่เว็บไซต์Birth You In Love เราอัพเดทข่าวใหม่และแม่นยำทุกวันสำหรับคุณ, ด้วยความหวังที่จะให้เนื้อหาที่สมบูรณ์ที่สุดสำหรับคุณ ช่วยให้คุณเก็บข้อมูลที่มีรายละเอียดมากที่สุดบนอินเทอร์เน็ต.

การแบ่งปันที่เกี่ยวข้องกับหัวข้ออนันตา แปลว่า

พระธรรมเทศนาโดยพระอาจารย์ปัญญา นีลวรรณโณ อาเมน

รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของอนันตา แปลว่า

อัตตา อนัตตา เรื่องที่ควรทำความเข้าใจให้ถูกต้อง
อัตตา อนัตตา เรื่องที่ควรทำความเข้าใจให้ถูกต้อง

นอกจากการอ่านเนื้อหาของบทความนี้แล้ว อัตตา อนัตตา เรื่องที่ควรทำความเข้าใจให้ถูกต้อง คุณสามารถค้นพบบทความเพิ่มเติมด้านล่าง

คลิกที่นี่เพื่อดูข้อมูลใหม่เพิ่มเติม

บางแท็กเกี่ยวข้องกับอนันตา แปลว่า

#อตตา #อนตตา #เรองทควรทำความเขาใจใหถกตอง.

อัตตา,อนัตตา,สัตตานัง,สัตว์,ปัญญา นีลวัณโณ,อัตตานุทิฏฐิ,อหังการมมังการ,อัตตภาวะ,ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา,นิพพานอนัตตา,นิพพานเป็นอนัตตา,ขันธ์ห้า,ขันธ์5,รูป,เวทนา,สัญญา,สังขาร,วิญญาณ,ไม่ใช่ตน,ไม่ใช่บุคคล.

อัตตา อนัตตา เรื่องที่ควรทำความเข้าใจให้ถูกต้อง.

อนันตา แปลว่า.

หวังว่าคุณค่าที่เรามอบให้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณมากสำหรับการอ่านอนันตา แปลว่าข่าวของเรา

0/5 (0 Reviews)

16 thoughts on “อัตตา อนัตตา เรื่องที่ควรทำความเข้าใจให้ถูกต้อง | ข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับอนันตา แปลว่าที่แม่นยำที่สุด

  1. พนิตตา พรมบุตร says:

    หลวงพี่ครับ ถ้าอัตตาไม่มี สักกายทิฐิจะเกิดขึ้นอย่างไรเล่า? จะกล่าวว่าอัตตามีก็ไม่ควร จะกล่าวว่าอัตตาไม่มีก็ไม่ควร

  2. Supong Pekanan says:

    สาธุครับ ท่านกล่าวสอนตามพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ดีแล้ว ขอความบรรลุธรรมมีแก่ท่านในชาตินี้

  3. Nextz_2 says:

    คือ การรู้ทุกข์
    พอรู้ทุกข์ การมั่นหมายจะจางคลาย หรือ ที่คิดว่าสิ่งนั้นเป็นเรา เป็นของๆเรา
    คือ ความเป็นภพ

    สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของๆเรา
    พอเราตั้งใจว่าจะเป็นเรา ทุกข์สุดๆ แต่ทุกข์นั่น มีโดยลักษณะ จางคลาย ทุกข์คลาย

  4. Surawit WANNAKRAIROJ says:

    "ความลับทางธรรมชาติ" เลยหรือครับ ผมว่าเป็นธรรมชาติที่ถูกมองข้ามมากกว่าครับ
    อนัตตาคือ ไม่มีตัวตน-ไม่มีอาตมัน (เพราะประกอบขึ้นจากเหตุปัจจัย ซึ่งเป็นของชั่วคราว-ไม่คงทน) และไม่เป็นตัวตน (เพราะไม่สามารถบังคับ กะเกณฑ์ได้ตามต้องการ)

  5. สุรศักดิ์ จิตติพันธุ์ says:

    คนหลายคนป่วยเป็นโรคเดียวกัน.แต่กินยาแต่ขนานไม่เหมือนกัน.ฉันใดก็ฉันนั้นการจะรู้สภาวธรรม.ก็จะใช้ความรู้ที่ไม่เหมือนกัน.แต่เป้าหมายคือกัน.คือความรู้จริงพิสูจน์ได้จริง.

  6. นิลุบล น้อยสะปุ๋ง says:

    ขอบคุณเบื้องบนเมตตาค่ะ ขอบคุณศิษย์พี่เมตตาชี้แนะและนำพาค่ะ #บ้านจิต1 รับสมัครผู้ที่มีความมุ่งมั่นจริงและอยากหลุดพ้นจริง รีบฉุดช่วยจิตญาณตนเองให้ได้จริง รีบเร่งตนฝึกฝนเข้าหาผู้รู้จริงเมตตาส่งเสริมชี้แนะค่ะไม่บำเพ็ญที่จิตยากจะได้กลับคืนค่ะ ร่วมศึกษาที่คุณสุภา 085 679 5322 ค่ะ สู้ๆค่ะบรรพชนรอเราอยู่ค่ะ

  7. Chok Sartvate says:

    ฟังมาตั้งแต่ต้นจนจบ กระผมพบว่าท่านสอนผิด เข้าใจผิดอย่างมากเลย กราบขอโอกาสเรียนเสนอสิ่งที่ถูกต้องดังนี้
    กายและใจคือโลก2โลกซ้อนกันอยู่ กายเรียกว่าโลกียะประกอบด้วยมือ เท้า แขน ขา ฯลฯ ใจเรียกว่าโลกุตระประกอบด้วยจิต4 อย่างคือ จิตสัมผัส จิตสังขาร จิตสัญญา จิตวิญญาณ พระพุทธองค์สอนเรื่องขันธ์5 เป็นเรื่องของโลกุตระที่เกิดในใจมี5ส่วนคือ 1 รูป (ในที่นี้ไม่ใช่กายแต่เป็นรูปที่หลับตาเห็นเช่นพูดว่างูเห่าภาพงูเห่าจะปรากฎขึ้นในใจ)เรียกให้ถูกว่า"นามรูป" 2 เวทนา 3สัญญา 4สังขาร 5วิญญาณ ทั้ง5ส่วนนี้เป็นตัวกำเนิด ปฎิจจสมุปบาททั้งวงเรียกว่า "วัฎสังขาร" มีสภาพเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือปรากฎขึ้น ตั้งอยู่ชั่วคราว แล้วดับไป พระพุทธองค์ตรัสว่าขันธ์5เป็น "อนัตตา"นั้นถูกต้องเป็นที่สุด สาธุฯ.

  8. ไพศาล ตันหรรษ์ says:

    ผมเชื่อ​ว่า​ผู้ปฏิบัติ​ส่วนใหญ่​เข้าใจ​ว่า​ "อัตตา" คือความรู้สึก​ของกายเนื้อผ่านทางระบบการรับรู้​ทางผัสสะ​ของระบบประสาทสำผัส เข้าใจ​ผิดว่าจะต้องไม่มีความรู้สึก​ ของกายเนื้อ… การละอัตตา​ คอการละการปรุงแต่งทางจิตวิสัยปรุงแต่ง​ท่ามกลาง​การสำผัส​ ปรกติ​ จิตนี้บังเกิดการรับรู้​ทุกอย่าง​เพียงแต่จิตนี้ไม่เข้าไปกำหนัดปรุงแต่ง​ ผู้ที่จะฝึกปฏิบัติ​ถึงจุดนี้ใด้จิต​ จะต้องละในความมีร่างกาย​ โดยการพิจารณา​ความตายให้จิตบังเกิดความเข้าใจ​สภาวะ​ความตายโดยปราศจากจิตที่ยังมีห่วงความวิตกกังวล​หวาดกลัว​จนจิตนี้บังเกิดความเข้าใจ​แผ่ไปโดยรอบความรู้สึก​ของดวงจิตของผู้ฝึกปฏิบัติ​ ถูกต้อง​ไหม​ขอรับกระผม​ สาธุ

  9. sing dada says:

    ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใด
    เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญา
    อันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม), นั่น ไม่ใช่เรา(เนโสหมสฺมิ), นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา) ” ดังนี้;

    ภิกษุ ท. ! เวทนา ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใด
    เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญา
    อันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม), นั่นไม่ใช่เรา
    (เนโสหมสฺมิ), นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา) ” ดังนี้;

    ภิกษุ ท. ! สัญญา ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใด
    เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญา
    อันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น
    ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้;

    ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์,
    สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วย
    ปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา,
    นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้;

    ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใด
    เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่นไม่ใช่
    ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล.

    – ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘/๔๒.

      —

  10. sing dada says:

    "ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปเป็นอนัตตา เวทนาเป็นอนัตตา สัญญาเป็นอนัตตา สังขารเป็นอนัตตา วิญญาณเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลายอริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขาร แม้ในวิญญาณ เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น. เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว. ย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี."
    เพราะเหตุไร ทำไมพระคุณท่าน สอนไม่ตรงกับพระศาสดาของตัวเอง!!
    พระพุทธเจ้าทรงสอนขันธ์5คืออนัตตา ลักษณะของขันธ์5คือธรรมชาติเกิด,เสื่อม,ดับ เช่นรูปมนุษย์ เกิด,แก่,เจ็บ,ตาย ลักษณะธรรมชาติเช่นนี้ พระพุทธเจ้าสอนให้เรามองเป็นทางสายกลาง ไม่สุดโต้งไปข้างใดข้างหนึ่งคือ ไม่สุดโต้งว่ามีตัวตนตลอดเวลา และไม่สุดโต้งว่าไม่มีตัวตนเลย พระพุทธเจ้าจึงอธิบายด้วยทางสายกลาง อันเป็นสัจจะความจริงแท้ ด้วยคำว่า"อนัตตา"ดังนั้นลักษณะอนัตตาจึงไม่ใชสูญญตา เมื่ออ่านพระสูตรแล้ว อนัตตาคือมีตัวตนชั่วคราว เกิดขึ้น,ตั้งอยู่,แล้วดับไป อนัตตาจึงไม่ใช่สูญญตา

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น